รีรี ข้าวสาร
สองขนาน ข้าวเปลือก
เลือกท้อง ใบลาน
เก็บเบี้ย ใต้ถุนร้าน
ทานคน ข้างหลังไว้
รีรี ข้าวสาร
สองขนาน ข้าวเปลือก
เลือกท้อง ใบลาน
เก็บเบี้ย ใต้ถุนร้าน
ทานคน ข้างหลังไว้
รีรี ข้าวสาร
สองขนาน ข้าวเปลือก
เลือกท้อง ใบลาน
เก็บเบี้ย ใต้ถุนร้าน
ทานคน ข้างหลังไว้
รีรี ข้าวสาร
สองขนาน ข้าวเปลือก
เลือกท้อง ใบลาน
เก็บเบี้ย ใต้ถุนร้าน
ทานคน ข้างหลังไว้
สองขนาน ข้าวเปลือก
เลือกท้อง ใบลาน
เก็บเบี้ย ใต้ถุนร้าน
ทานคน ข้างหลังไว้
รีรี ข้าวสาร
สองขนาน ข้าวเปลือก
เลือกท้อง ใบลาน
เก็บเบี้ย ใต้ถุนร้าน
ทานคน ข้างหลังไว้
รีรี ข้าวสาร
สองขนาน ข้าวเปลือก
เลือกท้อง ใบลาน
เก็บเบี้ย ใต้ถุนร้าน
ทานคน ข้างหลังไว้
รีรี ข้าวสาร
สองขนาน ข้าวเปลือก
เลือกท้อง ใบลาน
เก็บเบี้ย ใต้ถุนร้าน
ทานคน ข้างหลังไว้
จบเนื้อเพลงรีรีข้าวสาร - เพลงเด็ก
มิวสิควีดีโอเพลง รีรีข้าวสาร
ข้อมูลเพิ่มเติมเพลง รีรีข้าวสาร
รีรีข้าวสารเป็นการละเล่นพื้นบ้านของเด็กไทยในสมัยก่อน ซึ่งในปัจจุบันนี้อาจจะไม่ค่อยได้พบเห็นกันบ่อยหนัก เนื่องจากวัฒนธรรมในชาติต่างๆ ได้เข้ามาแผ่หลายในประเทศไทยเรา จึงทำให้การละเล่นพื้นบ้านแบบไทยๆได้หายสาปสูญไปในยุคสมัยนี้
กติกาการเล่น
จับไม้สั้นไม้ยาว ว่าใครจะเป็นประตู ให้ผู้เล่น 2 คน ยืนเอามือประสานกันเหนือศีรษะเป็นประตูโค้ง คนอื่นๆ เกาะไหล่กันลอดใต้โค้งไปเรื่อยๆ สองคนที่เป็นประตูจะร้องเพลงประกอบเวลา แถวลอดใต้โค้ง หัวแถวจะต้องเดินอ้อมหลังคนที่เป็นประตูครั้งละหน เมื่อจบเพลงสอง คนที่เป็นประตูจะกระดุกแขนลงกั้นคนสุดท้ายให้อยู่ระหว่างกลาง คัดออกไป คนข้างหลังต้องระวังตัวให้ดี ไม่เช่นนั้นตัวเองจะต้องออกจากการเล่น ต้องผ่านให้ได้หมดทุกคนจึงจะจบ
เนื้อเพลง
รีรีข้าวสาร สองทะนานข้าวเปลือก เลือกท้องใบลาน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน คดข้าวใส่จาน พานเอาคนข้างหลังไว้ให้ดี
เมื่อถึงคำสุดท้าย ซุ้มประตูก็จะลดมือลง กักตัวผู้เล่นที่เดินผ่านมา ผู้เล่นที่ถูกกักตัวจะถูกคัดออก หรืออาจจะถูกลงโทษด้วยการให้รำหรือทำท่าทางอะไรก็ได้
ประโยชน์และคุณค่าจากการเล่นรีรีข้าวสาร
การละเล่นชนิดนี้ เป็นการเล่นของเด็กอายุระหว่าง 4 – 6 ปี เล่นรวมกันทั้งเด็กหญิงและเด็กชาย เด็กจะได้รับประโยชน์ การเล่น เช่น
- เพลิดเพลิน จิตใจร่าเริง แจ่มใส ซึ่งจะทำให้เด็กๆยอมรับในกฎเกณฑ์กติกาในการเล่น
- ได้ออกกำลังกายพัฒนากล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ของร่างกายให้แข็งแรง
- หัดให้เด็กมีไหวพริบ ปฏิภาณ และรู้จักใช้กลยุทธที่จะให้ตนรอดจากการถูกคล้องตัวไว้
- หัดให้เด็กรู้จักทำงานเป็นกลุ่มโดยหัวแถวต้องพยายามพาแถว โดยเฉพาะคนสุดท้ายให้รอดพ้นจากการถูกกักตัวให้ได้